(
ภาพที่ 1 ภาพระดับสีความเป็นกรดและเบส )
สารละลายที่มีสมบัติเป็นกรดเมื่อทำปฏิกิริยากับสารละลายเบสจะได้เกลือกับน้ำ
เรียกว่า "ปฏิกิริยาสะเทิน"
จากการทำปฏิกิริยา จะได้เกลือมีลักษณะ 4 ประเภท
โดยแบ่งเกลือตามลักษณะการไฮโดรไลซิส
คือ
1.เกลือที่เกิดจาก กรดแก่ เบสแก่
จะเป็นเกลือกลางเพราะไอออนทั้งสองไม่ทำปฏิกิริยากับ H2OEx.
เกลือกลา NaClKNO3
2. เกลือที่เกิดจาก กรดแก่ เบสอ่อน จะเป็นเกลือกรด เพราะไอออนของเบสอ่อนจะไปทำปฏิกิริยากับน้ำ (ไฮโดรไลซิส)
3. เกลือที่เกิดจาก กรดอ่อน เบสแก่ จะเป็นเกลือเบส เพราะไอออนของกรดอ่อนจะไปทำปฏิกิริยากับน้ำ (ไฮโดรไลซิส)
4. เกลือที่เกิดจาก กรดอ่อน เบสอ่อน เช่น NH4CN เมื่อละลายน้ำไอออนของกรดอ่อน เบสอ่อนจะไปเล่นน้ำ ( ไฮโดรไลซิส)
2. เกลือที่เกิดจาก กรดแก่ เบสอ่อน จะเป็นเกลือกรด เพราะไอออนของเบสอ่อนจะไปทำปฏิกิริยากับน้ำ (ไฮโดรไลซิส)
3. เกลือที่เกิดจาก กรดอ่อน เบสแก่ จะเป็นเกลือเบส เพราะไอออนของกรดอ่อนจะไปทำปฏิกิริยากับน้ำ (ไฮโดรไลซิส)
4. เกลือที่เกิดจาก กรดอ่อน เบสอ่อน เช่น NH4CN เมื่อละลายน้ำไอออนของกรดอ่อน เบสอ่อนจะไปเล่นน้ำ ( ไฮโดรไลซิส)
ประโยชน์ของปฏิกิริยาสะเทิน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น